บทความ

เลือกบทเรียน การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

รูปภาพ
เรื่อง บทที่ 1  การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างเพื่อควบคุมคำสั่ง               ตอน 2 ตัวอย่าง การตรวจสอบคะแนนทีป้อนเข้ามา               ตอน 3 คำสั่งควบคุมแบบทำซ้ำ (Loop)               ตอน 4 ตัวอย่าง เป็นโปรแกรมตรวจสอบเลขคู่ (Even number)               ตอน 5 คำสั่งทำซ้ำแบบ Do Loop Until               ตอน 6 คำสั่งทำซ้ำซ้อนคำสั่งทำซ้ำ 1 ชั้น เรียกว่าคำสั่ง For ซ้อน Do While               ตอน 7 วิเคราะห์ปัญหา:Input จำนวนสินค้า Output จำนวนเงินที่ต้องชำระ บทที่ 2  เมธอด( Method ) กับปัญหาการเขียนโปรแกรม               ตอน 2 การใช้งานโปรแกรมย่อยแบบคืนค่ากลับ               ตอน 3 การเขียนโปรแกรมเพื่อทดสอบการส่งผ่านค่าแบบ Pass by Reference               ตอน 4 การบังคับให้ออกจากฟังก์ชั่นโดยใช้คำสั่ง Exit Function               ตอน 5 เหตุการณ์การทำงานของเมธอดสำหรับโปรแกรมแม่สูตรคูณ               ตอน 6 โปแกรมจัดรูปแบบของปุ่ม บทที่ 3  แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ               ตอน 1 ตัวอย่าง การตรวจสอบคะแนนทีป้อนเข้ามา               ตอน 2 คุณสมบัติของภาษาการโปรแกรม

บทที่ 1 ตอน 7 วิเคราะห์ปัญหา:Input จำนวนสินค้า Output จำนวนเงินที่ต้องชำระ

รูปภาพ
วิเคราะห์ปัญหา : Input:   จำนวนสินค้า ( Amt ) , ราคาสินค้า ( Cost ) Output: จำนวนเงินที่ต้องชำระ ( Price ) ขั้นตอนการพัฒนาระบบ : 1.        ตั้งชื่อโปรเจ็คว่า PriceMoney 2.       # สร้าง Graphic User interface 3.       # ตั้งชื่อออฟเจ็ค 4.       @ สร้างโปรแกรมย่อย setinterface() 5.       @ Form1_Load 6.       Run ... 7.       @btnSumMoney_Click 8.       Run… Graphic User interface: Source Code: | 1 |     Public Class Form 1 | 2 |     | 3 |         | 4 |         Private Sub Form 1 _Load() Handles MyBase.Load | 5 |             setinterface() | 6 |         End Sub | 7 |         | 8 |         Sub setinterface() | 9 |             Me.Text = " โปรแกรมคำนวณเงิน " | 10 |            Me.Width = 300 | 11 |            Me.Height = 200 | 12 |            txtAmt.BackColor = Color.DeepPink | 13 |            txtCost.BackColor = Color.Coral | 14 |            txtPrice.BackColor = Color.Cyan | 15 |            btnSumMoney.ForeColor = C

บทที่ 1 ตอน 6 คำสั่งทำซ้ำซ้อนคำสั่งทำซ้ำ 1 ชั้น เรียกว่าคำสั่ง For ซ้อน Do While

รูปภาพ
ตัวอย่าง การทำงานของตัวอย่างนี้เหมือนกับตัวอย่างที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการใช้คำสั่งทำซ้ำซ้อนคำสั่งทำซ้ำ 1 ชั้น ในตัวอย่างเรียกว่าคำสั่ง For ซ้อน Do While สั่งเกตชุดคำสั่ง Do While จะต้องมีนิพจน์ประกอบคำสั่งทำซ้ำ 3 นิพจน์หากขาดนิพจน์ใดการทำงานจะผิดพลาด แบบฝึกหัดที่ 1 : ให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมเพื่อแปลงค่าตัวเลขของปี พ.ศ.  ไปเป็นปี ค.ศ.  โดยที่ตัวเลขที่รับเข้ามานั้น หากเกิน 2500 จะต้องแปลงค่า ลักษณะของโปรแกรม : ต้องการแปลงค่าของปีในช่อง “ ปี :” (txtNum1)     จากนั้นไปแสดงค่าที่ช่อง “ ปี ค . ศ . :” (txtNum2)   โดยเมื่อมี เหตุการณ์คลิก ที่ปุ่ม “แปลงค่า”    โดยมีเงือนไขว่า หากตัวเลขมากกว่า 2500 จะต้องลบด้วย 543 แต่หากไม่ตัวเลขไม่เกิน 2500 ก็ให้แสดงค่าเดิม วิเคราะห์ปัญหา    Input :       ตัวเลขปี  พ.ศ. ( Num2 )   Output :       ตัวเลขปี ค.ศ. ( Num1 ) ขั้นตอนการพัฒนาระบบ : 1.       ตั้งชื่อโปรเจ็คว่า convertYear 2.       # สร้าง Graphic User interface (ตามหน้าจอ) 3.       # ตั้งชื่อออฟเจ็ค 4.       @ สร้างโปรแกรมย่อย setinterface() 5.       @ Form1_Load 6.

บทที่ 1 ตอน 5 คำสั่งทำซ้ำแบบ Do Loop Until

รูปภาพ
2.5 คำสั่งทำซ้ำแบบ Do Loop Until เป็นคำสั่งทำซ้ำที่จะมีทำการเพิ่มค่าให้กับตัวแปรก่อนจากนั้นจึงตรวจสอบเงื่อนไขทีหลัง หากเงื่อนไขเป็น เท็จ คำสั่งจะทำซ้ำไปจนกว่า การตรวจสอบเงื่อนไขเป็น จริง จึงออกจากการวนรอบ ตัวอย่าง ความแตกต่างจากตัวอย่างที่ผ่านมาคือ ค่าเริ่มต้นจะมีค่าเท่ากับ 10 และจะลดลงทีละ 1 ทุกครั้งที่มีการวนรอบจนกว่า i จะมีค่าเท่ากับ 1 นั้นคือเงื่อนไขเป็น จริง จึงหยุดจากคำสั่งการทำซ้ำนี้ จากนั้นทดลองลบการเพิ่มค่าออก( i= i+1 ) จะพบกว่าการทำงานผิดพลาดและการวนรอบจะไม่สิ้นสุด เรียกกว่า “ลูปตาย” 2.6 คำสั่งทำซ้ำแบบ For Next คำสั่งนี้จะ ทำซ้ำตามจำนวนค่าเริ่มต้นจนถึง จำนวนรอบที่ได้กำหนดค่าไว้โดยที่ทุกรอบจะวนรอบทีละ 1 หรือตามจำนวนช่วงการเพิ่มค่าที่ระบุ (คำสั่งจะมีหรือไม่ก็ได้) จากคำสั่งทำซ้ำนี้นักศึกษาสามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยาก เพราะ สามารถระบุจำนวนรอบได้เลย  ตัวอย่าง โปรแกรมนี้แสดงถึงการเพิ่มค่าทีละ 7 ในจำนวน 1 ถึง 50 สังเกตว่าสามารถระบุช่วงค่าคงที่จำนวนรอบได้เลย   จากนั้นทดลองลบคำสั่ง Step 7 ออก จะเห็นว่าการแสดงผลจะเพิ่มค่าทีละ 1 จนถึง 50  ตัวอย่างที่ 2 โปร