บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม 5, 2015

บทที่ 3 ตอน 5 การแสดงผลสูตรคูณซึ่งกำหนดค่าคงที่เลขคูณผ่านทาง Textbox

รูปภาพ
ตัวอย่างที่ 3 โปรแกรมนี้ใช้ในการแสดงผลสูตรคูณซึ่งกำหนดค่าคงที่เลขคูณผ่านทาง Textbox และให้วนรอบจำนวน 12 รอบ โดยใช้การทำซ้ำแบบ Do Until เมื่อ I มีค่ามากกว่า 12 จริง ก็จะหยุดจากการทำซ้ำนี้ และแสดงผลออกทางกล่องข้อความ ( 1 )  ออกแบบหน้าจอและกำหนดค่าคุณสมบัติ Name ของตัวควบคุมดังภาพ ( 2 )  สร้างคลาส clsMultipy.vb สำหรับคลาสนี้จะมีลักษณะเหมือนกับตัวอย่างที่ 2 คือ มีการรับและส่งค่าผ่านทางคุณสมบัติของคลาส ในตัวอย่างนี้คือ Number   และมีคำสั่ง vbCrLf เพื่อใช้ในการตัดบรรทัดซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนกับการ Enter ( 3 )  เขียนโค้ดคำสั่งในส่วนของคลาสฟอร์ม | 1 |  Public Class Form 1 | 2 |      Private Sub btnCal_Click(....) Handles btnCal.Click | 3 |          Dim objclsMultipy As New clsMultipy | 4 |          Dim s As String | 5 |          With objclsMultipy | 6 |      ...

บทที่ 3 ตอน 4 โปรแกรมตัดเกรด แบบ 5 เกรด (A-E)

รูปภาพ
ตัวอย่างที่ 2 โปรแกรมตัดเกรด แบบ 5 เกรด ( A-E ) ตามเงื่อนไขของคะแนนคือ ถ้าคะแนนตั้งแต่ 80 ขึ้นไปผลลัพธ์คือ A , ถ้าคะแนนตั้งแต่ 70 ขึ้นไปผลลัพธ์คือ B  ถ้าคะแนนตั้งแต่ 60 ขึ้นไปผลลัพธ์คือ C , ถ้าคะแนนตั้งแต่ 50 ขึ้นไปผลลัพธ์คือ D  ถ้าน้อยกว่า 50 ผลลัพธ์คือ E , และหากไม่ตรงเงื่อนไขใดๆ ผลลัพธ์คือ Error   ( 1 )  ออกแบบหน้าจอและกำหนดค่าคุณสมบัติ Name ของตัวควบคุมดังภาพ ( 2 )  สร้างคลาส clsGrade.vb ลักษณะการทำงานนั้นจะรับค่าผ่านทางคุณสมบัติ Score และส่งค่าเกรดผ่านทางคุณสมบัตินี้เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการเขียนโปรแกรมที่รับและส่งค่าผ่าน property ของคลาส ( 3 )  เขียนโค้ดคำสั่งในส่วนของคลาสฟอร์ม | 1 |  Public Class Form 1 | 2 |      Private Sub btnGrade_Click(……) Handles btnGrade.Click | 3 |          Dim obj As New clsGrade | 4 |          obj.Score = txtScore.Text | 5 |       ...

บทที่ 3 ตอน 3 การเขียนคลาสในภาษา Visual Basic.NET

รูปภาพ
การเขียนคลาสในภาษา Visual Basic.NET คลาสหรือแบบแปลนของวัตถุ จะถูกเขียนอยู่ในไฟล์ที่มีนามสกุล .Vb เช่น คลาสสำหรับการคำนวณโปรแกรมคิดเลขอย่างง่ายอาจจะถูกเขียนอยู่ในไฟล์ชื่อ clsTotal.Vb และการตั้งชื่อคลาสนั้นจะต้องมีคำว่า cls นำหน้าเพื่อเขียนโปรแกรมให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน      รูปแบบการประกาศคลาส | 1 |  Public Class clsTotal | 2 |  | 3 |  End Class บรรทัดที่ 1 เป็นการบอกให้คอมไพเลอร์ทราบว่าตอนนี้จะมีการประกาศคลาสชื่อว่า clsTotal      บรรทัดที่ 3 คือคำสั่งในการสิ้นสุดของคลาสนี้ ดังนั้นบรรทัดนี้จะต้องมี —         รูปแบบการสร้างออบเจ็กต์หรือวัตถุจากคลาส —         ชื่อออบเจ็กต์  As New ชื่อ คลาส () —         ตัวอย่างการสร้างออบเจ็กต์ Dim    objclsTotal   As  New clsTotal Dim    objclsTotal2   As  New clsTotal      ...

บทที่ 3 ตอน 2 คุณสมบัติของภาษาการโปรแกรมเชิงวัตถุ

รูปภาพ
คุณสมบัติของภาษาการโปรแกรมเชิงวัตถุ   คุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนี้จะต้องทำความเข้าใจในเบื้องต้นก่อน ซึ่งการเขียนโปรแกรมนั้นจะขอกล่าวในบทต่อไป โดยคุณสมบัติของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุจะประกอบไปด้วย   Encapsulation ( การห่อหุ้มวัตถุ)  Data Hiding ( การซ่อนรายละเอียด)  Inheritance (การสืบทอด) Polymorphism (การพ้องรูป) 1. Encapsulation (การห่อหุ้มวัตถุ) คือ การรวมคุณลักษณะของวัตถุและพฤติกรรมของวัตถุเข้าไว้ด้วยกันโดยกำหนดให้เป็นลักษณะชนิดของวัตถุนั้นๆ เช่นในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ จะสังเกตเห็นว่ามีตัวแปรและฟังก์ชั่นกระจัดกระจายกันอยู่ ดังนั้นเราจึงเอาตัวแปรและฟังก์ชั่นที่มีพฤตกรรมคล้ายกันมาห่อหุ้มหรือจัดกลุ่ม ไว้ด้วยกัน ดังภาพ 2.  Data Hiding ( การซ่อนรายละเอียด) คือ การกำหนดระดับในการเข้าถึงข้อมูล เพื่อป้องกันการเข้ามาใช้ข้อมูลของวัตถุโดยสิ่งอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องแล้วทำให้เกิดการผิดเพี้ยนของการทำงานทั้งระบบ ดังนั้นข้อมูลบางอย่างไม่ยินยอมให้วัตถุอื่นใดมาใช้งานได้ จำเป็นต้องซ่อนรายละเอียดตรงจุดนี้เอาไว้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยของวัตถุและระบบโดยรวมให้มากที่สุด ...

บทที่ 3 แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

รูปภาพ
แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ จากเนื้อหาเรื่องของการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างจะพบว่าแม้ว่า โปรแกรมประกอบด้วยคำสั่งและข้อมูล ซึ่งการจัดระเบียบคำสั่งเพียงอย่างเดียวก็อาจจะทำให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้ แม้มีการนำฟังก์ชันหรือซับรูทีนมาช่วยในการจัดการกับข้อมูล แต่ก็อาจจะถูกวางไว้อย่างกระจัดกระจาย สร้างความลำบากในการติดตามสืบหาว่าข้อมูลนี้ถูกเปลี่ยนแปลงโดยฟังก์ชันใด ดังนั้นจากปัญหานี้จึงมีการนำแนวคิดเชิงวัตถุมารวบรวมกลุ่มของเมธอดและแอบทริบิวต์ ที่มีลักษณะการทำงานคล้ายกันไว้ในที่เดียวกันเพื่อให้ง่ายต่อการเรียกใช้ ซึ่งในแนวคิดนี้ชุดคำสั่งของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแทนที่นักศึกษาจะเป็นคำสั่งเขียนเรียงต่อกันไปเรื่อยๆ แต่จะเป็นการนิยามวัตถุหรือสร้างวัตถุขึ้นมา จากนั้นโปรแกรมจะทำงานได้เอง ถ้าวัตถุนั้นถูกนิยามขึ้นอย่างเหมาะสม แต่การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ จะต้องอาศัยระยะเวลาในการศึกษานานพอสมควร ดังนั้นการเตรียมพร้อมในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุจะต้องทำความเข้าใจการเขียนเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้างมาบ้าง  และโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเขียนโปรแกรมต้องมีความชำนาญในแนวคิดการสร้างวัตถุสมมติที่ทำงานตามอย่างที่เ...

บทที่ 2 ตอน 6 โปแกรมจัดรูปแบบของปุ่ม

รูปภาพ
ตัวอย่างที่ 3 โปแกรมจัดรูปแบบของปุ่ม โปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมในการกำหนดค่าให้กับสีของปุ่ม Button4 ตามค่าที่กำหนดเมื่อมีการคลิกที่ปุ่ม Button1 ถึง Button4 (1)  ขั้นตอนในการออกแบบหน้าจอ ให้ออกแบบหน้าจอดังภาพโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ Name ของตัวควบคุมใดๆ ดังภาพ (2) หลังจากออกแบบหน้าฟอร์มเสร็จแล้วจากนั้นให้เขียนโค้ดในส่วนของเมธอดแต่ละส่วนภายในส่วนของคลาส Form1 ดังนี้ | 1 |     Public Class Form 1 | 2 |     | 3 |         Sub setButton (prmNumber As String, prmLeft As Integer, prmTop As Integer, prmWidth As Integer, prmHeight As Integer, prmForeColor As Color) | 4 |                       | 5 |             btnShow.Text = " แสดงผลแบบที่ " & prmNumber | 6 |         ...

บทที่ 2 ตอน 5 เหตุการณ์การทำงานของเมธอดสำหรับโปรแกรมแม่สูตรคูณ

รูปภาพ
แผนภาพสำหรับเหตุการณ์การทำงานของเมธอดสำหรับโปรแกรมแม่สูตรคูณ เมื่อการออกแบบหน้าจอบนฟอร์มเสร็จแล้วจากนั้นให้เขียนโค้ดในส่วนของเมธอดแต่ละส่วนภายในส่วนของคลาส Form1 ดังนี้ | 1 |     Public Class Form 1 | 2 |     | 3 |         Private Sub Form 1 _Load () Handles MyBase.Load | 4 |             setinterface() | 5 |         End Sub | 6 |         Sub setinterface() | 7 |             setCombo(ComboBox 1) | 8 |             setCombo(ComboBox 2) | 9 |             setCombo(ComboBox 3) | 10 |            setCombo(ComboBox 4) | 1...